- กาแฟดำเป็นเครื่องดื่มที่ใครหลายคนชอบดื่มกันมาก และคนส่วนใหญ่ก็มักจะดื่มเพื่อกระตุ้นไม่ให้ง่วงนอนในเวลากลางคืนขณะที่ทำงาน หรือดื่มในตอนเช้าตรู่ แต่หลายคนก็ยังคงมีข้อสงสัยกันอยู่ว่า การดื่มกาแฟดำจะมีประโยชน์หรือโทษมากน้อยแค่ไหน วิถีชีวิตแห่งอิ้วเมี่ยน(Lifestyle or Style of Life) จึงได้นำประโยชน์และโทษในการดื่มกาแฟดำมาให้ได้อ่านกัน เพราะพี่น้องอิ้วเมียนได้ประกอบอาชีพปลูกกาแฟจำหน่ายอยู่ในท้องตลาด
เผย!! การดื่มกาแฟดำ มีทั้งประโยชน์และโทษ…ดื่มอย่างไรให้ได้ผลดีต่อสุขภาพสูงสุด!!
พิธีบวช(กว๋าตัง)ของชนเผ่าอิ้วเมี่ยน
- คำว่า "กว๋า ตัง" ในภาษาเมี่ยนมีความหมายว่าแขวนตะเกียง ซึ่งเป็นการทำบุญเพื่อให้เกิดความสว่างขึ้น และเมี่ยนเองก็จะถือว่าผู้ที่ผ่านพิธีนี้แล้ว จะมีตะเกียง 3 ดวง พิธีนี้ได้รับอิทธิพลมาจากลัทธิเต๋า เป็นพิธีที่ทำเฉพาะผู้ชายเท่านั้น ถือเป็นการสร้างบุญบารมีให้กับตนเอง ทำบุญอุทิศให้บรรพบุรุษ และเป็นผู้สืบสกุล ไม่มีหลักฐานปรากฏแน่ชัดว่า
พบชาวอิ่วเมี่ยน อพยพมาตั้งถิ่นฐานระนองเกือบ 30 ปี
พบชาวอิ่วเมี่ยน อพยพมาตั้งถิ่นฐานระนองเกือบ 30 ปี
เมื่อวันที่ 21 ธ.ค.2557 ทีมงาน อสมท ระนอง ได้ติดตามคณะของ ททท. สื่อมวลชนจากส่วนกลางและททท.สำนักงานชุมพร ไปเยี่ยมเยียนชนเผ่าอิ่วเมียน ซึ่งเป็นชาวเขาเผ่าหนึ่งที่อพยพมาตั้งถิ่นฐานทำไร่กาแฟและสวนผลไม้ที่บ้านในกรัง ม.9 ต.จปร อ.กระบุรี จ.ระนอง และน่าจะเป็นชาวเมี่ยนกลุ่มแรกและกลุ่มเดียวที่อาศัยอยู่ในภาคใต้ โดยคณะของเราได้คุณก้อง วัลเล่ย์ เป็นไกด์นำเที่ยวในครั้งนี้
เมื่อวันที่ 21 ธ.ค.2557 ทีมงาน อสมท ระนอง ได้ติดตามคณะของ ททท. สื่อมวลชนจากส่วนกลางและททท.สำนักงานชุมพร ไปเยี่ยมเยียนชนเผ่าอิ่วเมียน ซึ่งเป็นชาวเขาเผ่าหนึ่งที่อพยพมาตั้งถิ่นฐานทำไร่กาแฟและสวนผลไม้ที่บ้านในกรัง ม.9 ต.จปร อ.กระบุรี จ.ระนอง และน่าจะเป็นชาวเมี่ยนกลุ่มแรกและกลุ่มเดียวที่อาศัยอยู่ในภาคใต้ โดยคณะของเราได้คุณก้อง วัลเล่ย์ เป็นไกด์นำเที่ยวในครั้งนี้
ชนเผ่าอิ่วเมี่ยน ชุมชนจีน 100 ปีลำปาง พร้อมใจจัดตรุษจีน
ลำปาง - ชาวเผ่าอิ่วเมี่ยน ชุมชนชาวจีนที่เข้ามาปักหลักตั้งรกรากที่ลำปางนานกว่า 100 ปี พร้อมใจจัดงานปีใหม่ชนเผ่า สืบทอดประเพณีและวัฒนธรรมของบรรพบุรุษ
瑶族ชนกลุ่มน้อยเผ่าเมี่ยน
ชนเผ่าเหยา(หรือที่ภาษาไทยเรียกว่าเย้า)มีชื่อเรียกตัวเองหลายชื่อ
อ่านตามเสียงอักษรจีนที่บันทึกไว้มี เหมี่ยน(勉Miǎn)จินเหมิน(金门Jīnmén)ปู้หนู่(布努Bùnǔ)
ปิ่งตัวโยว(炳多优Bǐnɡduōyōu) เฮยโหยวเหมิง(黑尤蒙Hēiyóuménɡ)
ลาเจีย(拉珈Lājiā) นอกจากนี้ด้วยเหตุที่ชาวเหยาในแต่ละท้องที่มีวัฒนธรรม
ความเป็นอยู่ และลักษณะที่อยู่อาศัยแตกต่างกัน
จึงมีชื่อเรียกตนเองแตกต่างกันไปด้วย เช่น ซานจื่อเหยา(山子瑶Shānzǐ
Yáo) หมายถึงชาวเหยาภูเขา ป๋ายคู่เหยา (白裤瑶Báikù
Yáo)
หนังสือโบราณเป็นส่วนหนึ่งที่สำคัญของมรดกวัฒนธรรมเมี่ยน
หนังสือโบราณเป็นส่วนหนึ่งที่สำคัญของมรดกวัฒนธรรมพื้นเมืองที่มีความหลากหลายของชนเผ่าเย้าเคิวอำเภอสิ่นโห่จังหวัดไลโจว์ซึ่งเป็นเอกสารข้อมูลเพื่อการศึกษาตัวหนังสือและความเลื่อมใสศรัทธาของพวกเขาแต่สิ่งที่น่าเป็นห่วงในปัจจุบันคือมรดกนี้กำลังค่อยถูกหลงลืมตามกาลเวลาคุณลุงเติ๋นเหม่งเสียว(TanMenhXieu)อายุ๗๖ปีอาศัยอยู่ที่หมู่บ้านต๋าฝิ่น(TaPhin)ตำบลต๋าฝิ่น(TaPhin)อำเภอสิ่นโห่(SinHo)จังหวัดลายโจว์(LaiChau)ได้รับการยกย่องจากชาวบ้านให้เป็นปรมาจารย์ท่านเป็นลูกศิษย์ที่ยอดเยี่ยมของตระกูลเติ๋นมีความรู้
ประเพณีลุยไฟของชนเผ่าอิ้วเมี่ยน
ประเพณีเย้าลุยไฟนั้นเป็นประเพณีทีทำกันมาตั้งแต่อดีตกาลนานมาแล้วตั้งแต่ครั้งบรรพบุรุษและเป็นประเพณีที่ชาวบ้านคนในครอบครัวให้ความร่วมมือกันทุกครัวเรือนและช่วยเหลืองานอย่างเต็มที่จนเป็นบ่อเกิดแห่งความสามัคคีเพื่อความเจริญรุ่งเรืองของวงศ์ตระกูลเป็นการทำบุญถึงบรรพบุรุษที่ล่วงลับโดยปกติจะมีพิธีลุยไฟในช่วงปีใหม่จีนโดยจะทำติดต่อกัน3–4คืนผลัดเปลี่ยนกันไปในแต่ละบ้านในชุมชนของชาวเย้าและในแต่ละชุมชนก็จะมีเจ้าพิธีที่ทำกัน
ชนเผ่าเมี่ยนในเวียดนาม
ชนเผ่าเย้าเป็นหนึ่งในกลุ่มชาติพันธุ์ที่มีประชากรมากเป็นอันดับ9ในจำนวน54ชนเผ่าในเวียดนามคือกว่า1ล้านคนโดยได้ตั้งหลักแหล่งอาศัยตามหมู่บ้านเขตเขาต่างๆทางภาคเหนือเช่นที่จังหวัดกาวบั่งห่ายางลาวกายเอียนบ๊ายลายเจาเตวียนกวางรวมไปถึงท้องถิ่นในเขตภูดอยบางแห่งคือฟู๊เถาะหวิงฟุกและหว่าบิ่ง
มารยาทในชมเผ่าอิ่วเมี่ยน
ถ้ากล่าวถึงชาวเมี่ยนจะนึกถึง"กลุ่มชนผู้มีน้ำใจไมตรีรักความสงบ"นิสัยโดยทั่วไปแล้วชาวเมี่ยนเป็นกลุ่มคนขยันและเก่งในด้านการค้าขายรักความสะอาดมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีต่อแขกที่มาเยือนสังเกตได้จากเมื่อแขกมาถึงบ้านชาวเมี่ยนจะยกม้านั่งมาให้และต้อนรับด้วยน้ำชาหรือน้ำดื่มแล้วพอถึงเวลาอาหารชาวเมี่ยนจะตั้งโต๊ะพิเศษเพื่อเลี้ยงอาหารแก่แขกโดยมีหัวหน้าครอบครัวหรือลูกชายนั่งรับประทานอาหารและดูแลความสะดวกอยู่ตลอดเวลาโดยปกติเมื่อมีการเลี้ยงแขกจะใช้เหล้าเป็นสื่อแสดงน้ำใจจากเจ้าของบ้านต่อผู้มาเยือนเจ้าของบ้านจะยกแก้วเหล้าเป็นการต้อนรับและขอบคุณแขกและ
เมี่ยนสกุลศรีสมบัติกับตัวตนในพื้นที่การเมืองท้องถิ่น
งานเขียนชิ้นนี้จะมีคุณูปการต่อการสร้างความรู้เพื่อนำไปสู่การผลักดันการเคลื่อนไหวทางการเมืองเรื่องอำนาจโดยชี้ให้เห็นว่าประสบการณ์ชีวิตของผู้หญิงชาติพันธุ์ภายใต้เงื่อนไขทางเศรษฐกิจการเมืองสังคมวัฒนธรรมล้วนมีที่มาที่ไปมีตำแหน่งแห่งที่เป็นของตนเองกรณีศึกษาในงานเขียนนี้เปรียบได้กับองค์ประธาน(subject)ของการต่อสู้ต่อรองกับอุดมการณ์อำนาจต่างๆโดยเฉพาะอุดมการณ์อำนาจแบบปิตาไตยที่หยั่งรากลึกในระบบโครงสร้างทางสังคมไทยผู้เขียนพยายามถ่ายทอดให้ผู้อ่านเห็นปฏิบัติการที่เกิดขึ้นในแต่ละสถานการณ์ชีวิตของกรณีศึกษาว่ากรณีศึกษาเป็น
เมี่ยนที่อาศัยอยู่ใน10จังหวัดประเทศไทย
เมี่ยนที่อาศัยอยู่ใน10จังหวัด44อำเภอ195หมู่บ้านจำนวนหลังคาเรือน9,501หลังคาเรือนประชากรรวม48,357คน(ทำเนียบชุมชนฯ2540,น.37)ชาวเมี่ยนเป็นชนชาติเชื้อสายจีนเดิมชนเผ่านี้เรียกตัวเองว่าเมี่ยนซึ่งแปลว่ามนุษย์มีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่าเย้าถิ่นเดิมของเมี่ยนอยู่ทางตะวันออกของมณฑลไกวเจายูนนานหูหนานและกวางสู
ในประเทศจีนต่อมาการทำมาหากินฝืดเคืองและถูกรบกวนจากชาวจีน
หมู่บ้านตาปิ่น (Taphin Village) หมู่บ้านเย้าแดง
หมู่บ้านตาปิ่น ที่มา : ดุษฎีพร ชาติบุตร |
หมู่บ้านตาปิ่น
(Taphin Village) หมู่บ้านเย้าแดงหมู่บ้านตาปิ่นนี้ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของตัวเมืองซาปา
ใช้เวลาในการเดินทางด้วยรถยนต์ประมาณ 30 นาที ประชากรส่วนใหญ่คือชาวเขาเผ่าเย้าแดง
ที่เหลือเป็นชาวเขาเผ่าม้งดำ และชาวเวียดนามอาศัยอยู่บ้างเล็กน้อย ผู้เขียนได้สอบถามหญิงเย้าแดงที่ออกมาต้อนรับนักท่องเที่ยวว่า
พวกเขาเรียกตัวเองว่าอย่างไร เธอตอบว่า “Dao” (ออกเสียงว่า
“Zao”) ซึ่งในประเทศไทยเรานั้นจะเรียกว่า “เย้า”
แต่เย้าจะเรียกตนเองว่า “เมี่ยน” เพราะเมี่ยนแปลว่า คน ส่วนเย้าแปลว่า คนป่าเถื่อน
ถือเป็นการเรียกที่ไม่สุภาพ
บ้านเย้าแดงในประเทศจีน红瑶
ที่มลฑลกวางสี เมืองหลงเซิ่ง
หมู่บ้านหวงลั่วเป็นที่อยู่ของชาวเผ่าเย้าแดง หมู่บ้านนี้เป็นหมู่บ้านที่มีชื่อเสียงในเรื่องของสาวผมยาวที่ยาวเป็นเมตร
นอกจากผมยาวแล้วยังเป็นผมที่ดำขลับไม่มีแตกปลายหรือแห้งกรอบให้เจ้าตัวเสียอารมณ์
เรามาดูกันว่าผมดำยาวนั้นจะดำและยาวขนาดไหน
กลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศจีน
คุณChenHaiWenอยากจะทำหนังสือเกี่ยวกับกลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศจีนจึงได้นำทีมช่างภาพมืออาชีพ14คนเดินทางไปถ่ายรูปทั่วประเทศจีนโดยโปรเจคนี้ใช้เวลานานถึง1ปีและทีมงานนี้ถ่ายรูปไปทั้งหมดรวมกันกว่า5.7ล้านรูปจากนั้นคุณHumbleได้นำข้อมูลมาแปลไว้ที่Pantipห้องLibraryในกระทู้http://goo.gl/G96XWtทั้งhttp://goo.gl/9QBwlqและเนื่องจากว่ากระทู้นั้นเก่ามากแล้วผมเลยเอามาโพสเก็บไว้ที่นี่ด้วยเผื่อว่ากระทู้
นิทานตำนาน เรื่อง.. พิธีของเมี่ยน
นิทานตำนาน เรื่อง.. พิธีของเมี่ยนอดีตกาลนั้นอิ้วเมี้ยนไม่มีพิธีบูชาเทพเจ้า และไม่มีพิธีการทำขวัญต่าง ๆ รวมทั้งการบวชด้วยก็ยังไม่มี แต่สมัยก่อนนั้น เยี่ยนฟิวเมี้ยน มีพิธีการต่าง ๆ มากมายเชื่อกันว่าอิ้วเมี้ยนนั้นไปขโมยมาจาก เยี่ยนฟิวเมี้ยนมาใช้ ในอดีตมีสถานศึกษาแห่งหนึ่ง มีปรมาจารย์ท่านหนึ่ง สอนอยู่ในสถานศึกษาแห่งนี้ มีนักเรียนมากมาย และมีเยี่ยนฟิวเมี้ยนคนหนึ่งมาเรียนในสถานศึกษาแห่งนี้ด้วย เยี่ยนฟิวเมี้ยนนั้นพูดกันว่าเป็นวิญญาณ
การแต่งกายตามแบบ[เกีย เซ็น ป๊อง]
ชาวเมี่ยนหญิง เครื่องแต่งกายประกอบด้วย นุ่งกางเกงขาก๊วยเป็นผ้าสีดำ ปักลวดลายด้านหน้า ผ้าคาดเอว ผ้าโพกศีรษะ เสื้อคลุมแขนยาว ด้านหลังเป็นผ้าตรงชิ้นเดียว ด้านหน้าเป็นผ้า 2 ชิ้น มีไหมพรมสีแดงเป็นพวงที่สอบเสื้อ ชาวเมี่ยนผู้ชาย จะสวมเสื้อตัวสั้นหลวม คอกลม ชิ้นหน้าห่ออกอ้อมไปติดกระดุมลูกตุ้มเงิน 8 – 10 เม็ด เป็นแถวทางด้านขวา กางเกงขาก๊วย ตัดเย็บผ้าทอมือย้อมครามสีน้ำเงินหรือดำ จะมีลายปักและกระเป๋าติดอยู่ด้านหน้า
เจาะลึกความเป็นมา12ตระกุลแซ่ของเมี่ยน
เมี่ยน [เย้า] ได้รับการจัดให้อยู่ในเชื้อชาติ มองโกลอยด์ คืออยู่ในตระกูลจีนธิเบต ได้ปรากฏครั้งแรกในเอกสารบันทึกของจีน สมัยราชวงศ์ถัง โดยปรากฏในชื่อ ม่อ เย้า มีความหมายว่าไม่อยู่ใต้อำนาจของผู้ใด เล่ากันว่า เมื่อประมาณ 2000 กว่าปีมาแล้วบรรพชน
ศาสนาความเชื่อและพิธีกรรม
ชาวเมี่ยนส่วนใหญ่จะนับถือเทพยดาวิญญาณบรรพบุรุษ และวิญญาณทั่วไป ทุกบ้านจะมีหิ้งบูชา เป็นที่สิงสถิตของวิญญาณบรรพบุรุษ และมีความเชื่อในเรื่องที่อยู่เหนือธรรมชาติ และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ตลอดจนการนับวันเดือนปี สิ่งที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน
พิธีส่งผีป่าของอิ้วเมี่ยน
เรียกว่า พิธีฝูงเยี่ยนฟิวเมี้ยน หมายถึง การส่งผีป่า พิธีกรรมนี้เป็นพิธีกรรมของเมี่ยนที่มีมาแต่ดั้งเดิมแล้ว และได้สืบทอดมาจนถึงทุกวันนี้ เมี่ยนเชื่อว่าพิธีกรรมนี้เป็นอีกพิธีกรรมหนึ่งที่ช่วยในการที่คนๆ หนึ่งไปทำผิดต่อผีป่าหรือลบหลู่โดยไม่ได้ตั้งใจ แล้วเมื่อผีป่าเกิดความโกรธจึงทำให้เกิดการเจ็บป่วยขึ้นมา และจะไม่สามารถรักษาได้ โดยทั่วไปจึงต้องทำพิธีเพื่อขอขมา
พิธีเรียกขวัอิ้วเมี่ยน
การเรียกขวัญก็เป็นอีกหนึ่งพิธีกรรมที่เมี่ยนให้ความเคารพนับถือมาโดยตลอด ในระยะ 1 ปีของเมี่ยนนั้นแต่ละคนต้องทำการเรียกขวัญอย่างน้อย 1ครั้ง บางคนนั้นอาจจะเรียกขวัญปีละ 2-3 ครั้งก็มี เนื่องจากคนคนนั้นเกิดอาการป่วยเกิดขึ้น หรือทำเมื่อตกใจเห็นอะไรที่ไม่ดี
พิธีงานศพของอิ้วเมี่ยน-ลำดับขั้นตอนการปฎิบัติ
เป็นสิ่งที่ไม่มีใครหนีไปได้เลย จะต่างกันก็เพียงแต่จะเร็วหรือช้า เท่านั้น เมื่อบุคคลหมดลมหายใจแล้ว ก็เป็นหน้าที่ของผู้ที่ยังมีชีวิตอยู่ จะดำเนินการเกี่ยวกับ พิธีศพ ตามลัทธิประเพณีนิยมของแต่ละชนเผ่า เพื่อเป็นการให้เกียรติแก่ผู้ตายและเป็นการไว้อาลัยเป็นครั้งสุดท้าย บทความนี้ผมจึงหยิบยกพิธีงานศพของชนเผ่าเมี่ยน
พิธีเข้าบวชของอิ้วเมี่ยน(กว๋าตัง)
คำว่า"กว๋าตัง"ในภาษาเมี่ยนมีความหมายว่าแขวนตะเกียงซึ่งเป็นการทำบุญเพื่อให้เกิดความสว่างขึ้นและเมี่ยนเองก็จะถือว่าผู้ที่ผ่านพิธีนี้แล้วจะมีตะเกียง3ดวงพิธีนี้ได้รับอิทธิพลมาจากลัทธิเต๋าเป็นพิธีที่ทำเฉพาะผู้ชายเท่านั้นถือเป็นการสร้างบุญบารมีให้กับตนเองทำบุญอุทิศให้บรรพบุรุษและเป็นผู้สืบสกุลไม่มีหลักฐานปรากฏแน่ชัดว่าพิธีกรรมนี้มีประวัติความเป็นมาอย่างไรมีเพียงแต่คำบอกเล่าจากการสันนิษฐานของผู้อาวุโสว่าพิธีกว๋าตังนี้มีมานานมากแล้ว
ความเป็นมาของอิ้วเมี่ยน
ความเป็นมาของเมี่ยน
ถิง แถบแม่น้ำแยงซี
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)